สินทรัพย์ดิจิทัล

มุมมองของต่างประเทศต่อการนำ “สินทรัพย์ดิจิทัล”มาเป็นสื่อกลางใน “การรับชำระสินค้าและบริการ”

28 ม.ค. 65
มุมมองของต่างประเทศต่อการนำ “สินทรัพย์ดิจิทัล”มาเป็นสื่อกลางใน “การรับชำระสินค้าและบริการ”

มุมมองของต่างประเทศต่อการนำ “สินทรัพย์ดิจิทัล”

มาเป็นสื่อกลางใน “การรับชำระสินค้าและบริการ”

 

863545

 

  •  เอลซัลวาดอร์       -ยอมรับBitcoin เป็นสื่อกลางที่สามารถใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมายตั้งแต่ ก.ย.64

 

  • สหรัฐอเมริกา       -เสนอกฎหมาย ออก Stablecoin ให้มาจากสถาบันรับฝากเงินเท่านั้น

-Key Entitles อื่น เช่น Wallet Provider ที่ช่วยให้เกิดการใช้ Stablecoin เป็นสื่อกลางชำระค่าสินค้าหรือบริการต้องอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของภาครัฐ

 

  • สหภาพยุโรป        -เสนอ Market in Cryptoassets regulation (MICA) เพื่อกำกับดูแลคริปโทฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Stablecoin รวมถึงการประกอบธุรกิจของผู้ให้บริการเพื่อออกใช้ในปี 2024

 

  • สหราชอาณาจักร  -อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็นเกี่ยวกับกฎเกณฑ์ในเรื่องคริปโทฯและ Stablecoin (2021)

 

  • สิงคโปร์              -กำกับเหรียญที่เข้าข่าย E-money ด้วยกฎหมายด้านระบบการชำระเงิน

                        -ห้ามโฆษณาซื้อขายคริปโทฯในพื้นที่สาธารณะ และห้ามจ้างอินฟลูเอ็นเซอร์เพื่อโฆษณา

 

  • ฮ่องกง                -อยู่ระหว่างพิจารณานโยบายและติดตามท่าทีของต่างประเทศและองค์กรระหว่างประเทศ โดยเสนอจะกำกับ Stablecoin ที่ใช้เพื่อการชำระเงิน

 

  • มาเลเชีย             -มองว่าคริปโทฯไม่มีคุณสมบัติที่จะนำมาใช้เป็นสื่อกลางในการชำระค่าสินค้าและบริการ

 

  • ไทย                   -ไม่สนับสนุนให้นำมาใช้เป็นสื่อกลางในการชำระค่าสินค้าลับริการ เพราะมีความเสี่ยงในภาพรวม

 

  • อินเดีย               -อยู่ระหว่างเสนอกฎหมาย เพื่อห้ามการใช้คริปโทฯในการชำระค่าสินค้าและบริการ

 

  • อินโดนีเซีย          -ห้ามใช้คริปโทฯในการชำระเงิน

                        -สภาศาสนาอิสลาม ห้ามใช้คริปโทฯเป็นสกุลเงิน

 

  • จีน                    -คริปโทฯและการทำธุรกรรมที่เกี่ยวข้องกับคริปโทฯเป็นสิ่งผิดกฎหมาย

 

 

ที่มา :ธนาคารแห่งประเทศไทย

 

advertisement

SPOTLIGHT